Home /1 / 2 / 3 / 4 / 5 / 6 / 7 / 8 / 9 / 10 / 11 / 12

ฐณพงษ์ ศรีวิชา



















ผลงานชิ้นที่ 3

สรุวัจน์ แสนวิเศษ






ผลงานชิ้นที่ 5




ผลงานชิ้นที่ 4




ผลงานชิ้นที่ 3



ผลงานชิ้นที่ 2




ผลงานชิ้นที่ 1

วุฒิพงษ์ บูรณะ


ผลงานชิ้นที่ 1

รูปแบบ: Computer Art

เทคนิค:โปรแกรมคอมพิวเตอร์ Adobe Photoshop
แนวคิด: ความรัก ความผูกพัน การดูแลเอาใจใส่ นำมาซึ่งการให้โดยไม่หวังผลตอบแทน เพื่อให้อีกชีวิตหนึ่งได้บังเกิดออกมาลืมตาดูโลก ความเสียสละของสตรีเพศที่เรียกว่า "แม่" ยอมทำทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อลูกของตนได้มีความเป็นอยู่ที่ดี ประสบความสำเร็จในหน้าที่การงาน



ผลงานชิ้นที่ 2

รูปแบบ: Computer Art

แนวคิด: ความรัก ความผูกพัน การดูแลเอาใจใส่ อันจะนำมาซึ่งความอบอุ่นอันแสนวิเศา ยากที่จะหาสิ่งใดเทียบปานได้ สัจธรรมชีวิตบนโลกต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ก่อเกิดเป็นพลังแห่งความสุขสู่สังคมโลก เปรียบได้ดั่งความรักของ "แม่"



ผลงานชิ้นที่ 3

รูปแบบ: Computer Art

แนวคิดผลงานชิ้นที่ 3 และ 4 : ตำนานความรัก ความกตัญญูกตเวทีของแม่ไก่และลูกไก่ เป็นตัวอย่างของความดีที่น่าประทับใจของผู้ที่ได้รับรู้ ผู้สร้างสรรค์ต้องการนำเสนอ เรื่องราวความรัก ความผูกพันระหว่างแม่ไก่และลูกไก่ ผ่านเรื่องเล่าตำนานของ "ดาวลูกไก่" อันเป็นความดีที่น่ายกย่อง



ผลงานชิ้นที่ 4

รูปแบบ: Computer Art

จุฬาทิพย์ ลาวัลย์

ผลงานชิ้นที่ 1



ผลงานชิ้นที่ 2



ผลงานชิ้นที่ 3




ผลงานชิ้นที่ 4


พิทยาธร ทองมาก




ผลงานชิ้นที่ 4

รูปแบบ: Sound Installation Art

เทคนิค: นำกระจกมาติดตั้งทั้งสี่ทิศ แล้วนำเอาสัญญานเซ็นเซอร์มาติดใต้กระจก นำสัญญานเสียงที่ออก ไปจ่อกับไมค์กระจายเสียง เพื่อให้เกิดเสียงที่สะท้อน เสียงที่นำมาใช้มีลักษณะคล้ายกับเสียงสัญญานของร้านสะดวกซื้อ เวลาที่ลูกค้าเปิดประตูทางเข้า-ออก

แนวคิด: นำเสนอภาพสะท้อนของการบริโภคที่มีอยู่ในชุมชน การแพร่หลายของร้านสะดวกซื้อ ที่ได้แทรกซึมเข้ามาอยู่ในชุมชนโดยที่ไม่รู้สึก ความสะดวกสบายของร้านประเภทนี้ที่สามารถใช้บริการและบริโภคได้ตลอด 24 ชั่วโมง


ผลงานติดตั้งในพื้นที่ภายนอก เนื่องจากต้องพึ่งพาลมธรรมชาติ ในการพัดให้เกิดเสียงการกระทบกันของหินกับขวดแก้วที่ผูก


ผลงานชิ้นที่ 3

รูปแบบ: Sound Installation Art

เทคนิค: เลือกชนิดของขวด นำขวดมาผูกติดกับหินและกระดาษ เมื่อลมพัดกระดาษปลิว จะเกิดแรงสั่นสะเทือน ทำให้หินเกิดการแกว่งไปกระทบกับขวด เกิดเป็นเสียงขึ้น บันทึกเสียงที่เกิดขึ้น แล้วนำไปปรับแต่งเสียงใหม่ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์

แนวคิด: ผู้สร้างสรรค์มีความประทับใจในเสียงของโมบาย ซึ่งทำให้เกิดจินตนาการตามเสียงที่เกิดขึ้น จึงได้นำขวดมาสร้างสรรค์เพื่อให้เกิดเป็นเสียง ขวดแต่ละชนิดจะให้เสียงที่แตกต่างกัน



ผลงานชิ้นที่ 2

รูปแบบ: Sound Installation Art

เทคนิค: นำสนูว่าวที่ติดกับว่าวมาแกว่ง แล้วบันทึกเสียง นำเสียงที่ได้มาปรับแต่งในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผู้สร้างสรรค์ได้กำหนดทิศทางของเสียงที่กระจายผ่านลำโพง โดยเสียงที่เกิดขึ้นจะวิ่งวนไปตามลำโพง ที่แผ่กระจายในลักษณะของวงกลม เสียงจะวิ่งไปในแต่ละลำโพงและสลับกัน ซ้าย-ขวา-หน้า-หลัง

แนวคิด: ในการเล่นว่าว จะมีสนูว่าวที่ทำให้เกิดเสียง เสียงที่เกิดจะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับวัสดุที่ใช้ทำสนูว่าว ผู้สร้างสรรค์มีความประทับใจในทำนองของเสียงที่เกิดขึ้นจากการเล่นสนูว่าว ที่มีอยู่เกือบทุกพื้นที่ จึงได้ทดลองสร้างสรรค์ผลงานชิ้นนี้ขึ้นมา





ผลงานชิ้นที่ 1

รูปแบบ: Sound Installation Art

เทคนิค: ภาพพิมพ์แกะไม้ (Woodcut Prints) ผู้สร้างสรรค์บันทึกเสียงที่เกิดขึ้นในกระบวนการทำภาพพิมพ์แกะไม้ เช่น การแกะแผ่นไม้ การกลิ้งลูกกลิ้ง การพิมพ์ จากนั้นจึงนำเสียงที่บันทึกมาปรับแต่งใหม่ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การติดตั้งและการกระจายเสียงของผลงาน ผู้สร้างสรรค์กำหนดให้ เสียงจากลำโพงด้านขวามีจังหวะที่เร็ว และเสียงจากลำโพงด้านซ้ายมีจังหวะที่ช้า

แนวคิด: ต้องการถ่ายทอดถึงวัฎจักรของสิ่งมีชีวิต ที่มีการเวียนว่ายตายเกิด เป็นวงจรที่ไม่รู้จักสิ้นสุด

อรพรรณ บุตรโพธิ์



ผลงานชิ้นที่ ๔


รูปแบบ: ศิลปะวีดีทัศน์ (Video Art)

สุดารัตน์ วงนางาม



ผลงานชิ้นที่ 1

รูปแบบ: ภาพถ่าย

เทคนิค: ตัดปะ (collage)

แนวคิด: ผู้สร้างสรรค์มีความชื่นชอบและประทับใจ แสงและสีของพระอาทิตย์ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน

แสงและสีของพระอาทิตย์แตกต่างกันไปในแต่ละวัน






ผลงานชิ้นที่ 2

รูปแบบ: ภาพถ่าย

เทคนิค: ตัดปะ (collage)

แนวคิด: พระอาทิตย์มีการเคลื่อนที่หรือเลื่อนตำแหน่ง การเคลื่อนที่จะช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับปรากฎการณ์ธรรมชาติในช่วงเวลานั้น การเปลี่ยนแปลงของสี แสง ของพระอาทิตย์ขณะเคลื่อนที่ ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ชัดเจนด้วยตาเปล่า แต่เมื่อนำเสนอในรูปแบบของภาพถ่ายที่บันทึกการเลื่อนตำแหน่งของพระอาทิตย์ในช่วงเวลา 17:00 - 18:00 น. โดยบันทึกภาพทุกห้านาที ทำให้สามารถมองเห็นการเปลี่ยนแปลงได้






ผลงานชิ้นที่ 3

รูปแบบ: ภาพถ่าย

เทคนิค: ตัดปะ (collage)

แนวคิด: ต้องการนำเสนอมิติของเส้นโครงสร้างอาคารที่ยังสร้างไม่เสร็จ เส้นโครงสร้างของเหล็กเส้น แผ่นไม้ของโครงสร้างที่นำมาทับซ้อนกันจนเกิดเป็นรูปร่างใหม่ มีการเคลื่อนไหว บิดไปบิดมาของเส้น








ผลงานชิ้นที่ 4

รูปแบบ: ภาพถ่าย

เทคนิค: ตัดปะ (collage)

แนวคิด: นำเสนอความงามที่เกิดจากแสง สีที่เกิดขึ้นตามปรากฏการณ์ธรรมชาติของพระอาทิตย์ ที่มีลักษณะการขึ้นและตกซ้ำๆที่เดิมอยู่ทุกวัน โดยบันทึกและถ่ายทอดมิติของแสงที่มากหรือน้อย ขนาดของพระอาทิตย์ที่แตกต่างกัน แม้ว่าจะเป็นสถานที่เดียวกัน พระอาทิตย์ดวงเดียวกัน แต่แสง สี และขนาดมีลักษณะที่แตกต่างกันไปในแต่ละวัน
Home / 1 / 2 / 3 / 4 / 5 / 6 / 7 / 8 / 9 / 10 / 11 / 12